Ресурсы
Ценообразование
Создание Раскадровки
Мои Раскадровки
Поиск
Untitled Storyboard
Создать Раскадровку
Скопируйте эту раскадровку
ВОСПРОИЗВЕСТИ СЛАЙД-ШОУ
ПОЧИТАЙ МНЕ
Создайте свой собственный!
Копировать
Создайте свою собственную
раскадровку
Попробуйте
бесплатно!
Создайте свою собственную
раскадровку
Попробуйте
бесплатно!
Текст Раскадровки
Горка: 1
สุดท้ายคือพันธะโลหะ=แรงยึดเหนี่ยวที่ทำให้อะตอมของโลหะ อยู่ด้วยกันในก้อนของโลหะโดยมีการใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมของโลหะ โดยที่เวเลนต์อิเล็กตรอนนี้ไม่ได้เป็นของอะตอมหนึ่งอะตอมใดโดยเฉพาะ
จึงทำให้โลหะไม่มีสูตรโมเลกุล ที่เขียนกันเป็นสูตรอย่างง่าย หรือสัญลักษณ์ของธาตุนั้นเอง
เป็นยังไงบ้างเข้าใจไหม?
โอ้ เข้าใจมากๆเลยล่ะเธออธิบายดีมาก
ฮ่าๆ ขอบคุณนะ
Горка: 2
ส่วนการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกนั้นคือ1.อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามชื่ออโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย ไ-ด์ (-ide)
เข้าใจง่ายจริงๆ
2.กรณีธาตุโลหะมีเลขประจุหลายค่า ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยประจุวงเล็บเลขโรมันตามด้วยไอออนลบลงเสียงพยางค์ท้ายด้วยไ-ด์
3.กรณีธาตุโลหะรวมกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อกลุ่มไอออนลบ
Горка: 3
สวัสดีจ้า มาทำอะไรหรอเทคโน
สวัสดีลีอา เรามาปริ้นเอกสารพันธะโควาเลนต์น่ะ
จริงหรอ เราก็มาปริ้นเอกสารพันธะไอออนิกกับพันธะโลหะเหมือนกัน
โอ๊ะ ดีเลยเราอยากถามเรื่องพันธะไอออนิกกับพันธะโลหะอยู่พอดี
Горка: 4
2.ระบุจำนวนอะตอมของธาตุแต่ละตัวด้วยจำนวนในภาษากรีก3.ถ้าธาตุตัวหน้ามีอะตอมเดียวไม่ต้องระบุจำนวนอะตอม แต่ธาตุตัวหลังต้องระบุแม้มีเพียง 1 อะตอม
ข้อที่2นี่ใช่พวก1.mono 2.di 3.tri 4.tetra5.penta 6.hexa 7.hepta8.octa 9.nona 10deca ไหม?
ใช่แล้วล่ะและก็ขอบคุณมากนะที่อธิบายให้ฟัง
ไม่เป็นไรเลยเรายินดีมากๆ ขอบคุณนายเหมือนกันนะ
Горка: 5
อ๋อ พันธะโควาเลนต์น่ะ เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันของธาตูอโลหะ เพื่อทำให้อะตอมแต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ8
แล้วพันธะโควาเลนต์ล่ะ?
ส่วนการอ่านชื่อสารประกอบโควาเลนต์ ได้แก่ 1.เรียกชื่อธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของอีกธาตุหนึ่ง พร้อมเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น-ไอด์
Горка: 6
พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมหรือเรียกว่าพันธะเคมี มีประจุไอออน+- และเกิดจากการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนวงนอกสุดระหว่างอะตอม โดยส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมของโลหะ+อโลหะ ล่ะ
เช่น การเกิดของสารประกอบโซเดียมคอลไรด์(NaCl) หรือ Al2O3 , MgOเพื่อให้อิเล็กครอนวงนอกสุดครบ8ตัวตามกฎออกเตต
Горка: 0
ได้เลย
แถมยังจำแนกออกเป็น3ลักษณะได้อีกนะ คือ 1.พันธะเดี่ยว 2.พันธะคู่ 3.พันธะสาม
Создано более 30 миллионов раскадровок