Ištekliai
Kainos
Sukurti Siužetinės Linijos
Mano Siužetinės Lentos
Paieška
บทที่สอง 2
Sukurkite Siužetinę Lentą
Nukopijuokite šią siužetinę lentą
PALEISTI SKAIDRIŲ DEMONSTRACIJĄ
SKAITYK MAN
Susikurk savo
Kopija
Sukurkite savo
siužetinę lentą
Išbandykite
nemokamai!
Sukurkite savo
siužetinę lentą
Išbandykite
nemokamai!
Siužetinės Linijos Tekstas
มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดีและบางชนิดไม่ละลายน้ำ มีสถานะเป็นของแข็งและเปราะ เมื่อเป็นของแข็งที่ประกอบด้วยไอออนบวกและลบจะไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อให้ความร้อน หรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้า
คุณสมบัติสารประกอบไอออนิก
NaCl เกลือแกง: ใช้ประกอบอาหารKNO3 ดินประสิว: ถนอมอาหาร ทำประทัด พลุไฟNaHCO3 ผงฟู: ใช้ประกอบอาหาร ใช้ดับไฟNa2SiO โซเดียมซิลิเกต: ใช้ทำแก้ว
สารประกอบไอออนิกที่ควรรู้จัก
ยิ่งมีจำนวนพันธะเยอะความแข็งแกร่งจะเพิ่มขึ้น
พันธะเดี่ยวใช้ร่วมกัน 1 คู่
เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมธาตุโลหะ เพื่อทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8
พันธะโคเวเลนต์
จำแนกได้อีก 3 ลักษณะ ตามจำนวนคู่อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน
พันธะคู่ใช้ร่วมกัน 2 คู่
อโลหะ + อโลหะ
พันธะสามใช้ร่วมกัน 3 คู่
3. นำอะตอมของแต่ละธาตุมาเข้าคู่กัน โดยให้แต่ละอะตอมที่ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 8
อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน= อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
สูตรโครงสร้างแบบจุด
1. ทราบเลขอะตอมของธาตุ เพื่อหาจำนวน เว-เลนซ์อิเล็กตรอน2. เขียนสัญลักษณ์แทนอิเล็กตรอน( . หรือ *) รอบ ๆ สัญลักษณ์ธาตุ
อิเล็กตรอนตัวอื่นที่ไม่ได้อยู่ในพันธะ = อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
สูตรโครงสร้างแบบเส้น
แทนจำนวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ ด้วยเส้น 1 เส้น1. เขียน ---- ระหว่างสัญลักษณ์ของอะตอมของธาตุคู่หนึ่ง ๆ 2. ไม่ต้องเขียนเวเลนซ์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
การเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์
B Si C Sb As P N H Te Se S At I Br Cl O F
1. เรียงลำดับสัญลักษณ์ธาตุ ตามนี้2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุในสารประกอบ เขียนไว้มุมล่างขวา3. ใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของแต่ละอะตอมของธาตุคูณไขว้และทำให้เป็นอัตราส่วนอย่างต่ำ
Sukurta daugiau nei 30 milijonų siužetinių lentelių