Paieška
  • Paieška
  • Mano Siužetinės Lentos

แหล่งกักเก็บปิโตรเลี่ยม 21

Sukurkite Siužetinę Lentą
Nukopijuokite šią siužetinę lentą
แหล่งกักเก็บปิโตรเลี่ยม 21
Storyboard That

Sukurkite savo siužetinę lentą

Išbandykite nemokamai!

Sukurkite savo siužetinę lentą

Išbandykite nemokamai!

Siužetinės Linijos Tekstas

  • รู้มั้ยแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมคืออะไรแล้วมันมีอะไรบ้าง?!
  • อืมม..ไม่รู้อ่ะมีอะไรมั้งล่ะ
  • แหล่งกักเก็บปิโตรเลี่ยมคืออะไรล่ะ?บริเวณที่มีหินตะกอนเนื้อแน่นที่ไม่ยอมให้ของไหลต่างๆเคลื่อนตัวผ่านไปได้ปิโตรเลียมทั้งที่อยู่ในรูปของน้้ามันดิบและแก๊สรรรมชาติองค์ประกอบมีอะไรบ้างล่ะ1หินต้นก้าเนิด (source Rock) หินกักเก็บ (Reservoir Rock) 2หินปิดกั้น (Seal Rock / Cap rock) 3หินปิดทับ (Overburden Rock)
  • 1.หินต้นก้าเนิดเป็นหินตะกอนที่เกิดจากการทับถมกันของซากสิ่งมีชีวิต 2.หินกักเก็บ เนื้อหินมีความพรุน ยอมให้ปิโตรเลียมเคลื่อนตัวผ่านไปยังแหล่งกักเก็บ เช่น หินทราย หินปูน 3.หินปิดกั้นปิดทับอยู่ด้านบนเป็นหินที่ไม่ยอมให้สารละลายไหลผ่านได้เพื่อป้องกันไม่ให้ปิโตรเลียมเคลื่อนตัวผ่านออกไป มีเนื้อละเอียด4.หินปิดทับเป็นชั้นหินอื่นๆที่ปกคลุมปิดทับชั้นหินปิดกั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ปิโตรเลียม เคลื่อนย้ายออกไปสู่พื้นผิวโลกหรือหลุดรอดออกไปจากชั้นหินปิดกั้น
  • แหล่งกักเก็บปิโตรเลี่ยมแบ่งเป็น 2 ประเภท1. แบบเกิดจากโครงสร้างทางธรณีวิทยา 1.1 โครงสร้างรูปโค้งประทุนคว่้า 1.2 โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน 1.3 โครงสร้างรูปโดม2. แบบเนื้อหินเปลี่ยนแปลง
  • โครงสร้างเนื้อหินเปลี่ยนแปลง หินกักเก็บท้าหน้าที่กักเก็บปิโตรเลียมไว้เองโดยเกิดการเปลี่ยนแปลงผิวรอบนอกกลายเป็นหินทึบ
  • 1.โครงสร้างรูปโค้งประทุนคว่้า เกิดจากการหักงอของชั้นหินมีประสิทธิภาพดีที่สุด2.โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน เกิดจากการหักงอของชั้นหินท้าให้ชั้นหินเคลื่อนที่คนละแนวและปิดกั้นการเคลื่อนตัวของปิโตรเลียม พบได้ในประเทศไทยด้วยนะ!!!3.โครงสร้างรูปโดม ชั้นหินถูกดันด้วยให้โก่งด้วยชั้นเกลือเกิดเป็นลักษณะคล้ายกระทะคว่้า และมีปิโตรเลียมมาสะสมตัวบริเวณชั้นหินกักเก็บรอบ ๆ โครงสร้างรูปโดม
  • มันก็ประมาณนี้แหละ ...อ่าวเห้ยอย่าพึ่งหลับดิเห้ยย
Sukurta daugiau nei 30 milijonų siužetinių lentelių