Resurssit
Hinnoittelu
Luo Kuvakäsikirjoitus
Omat Kuvataulut
Hae
Unknown Story
Luo Kuvakäsikirjoitus
Kopioi tämä kuvakäsikirjoitus
TOISTA DIAESITYS
LUE MINULLE
Luo oma!
Kopio
Luo oma
kuvakäsikirjoitus
Kokeile
ilmaiseksi!
Luo oma
kuvakäsikirjoitus
Kokeile
ilmaiseksi!
Kuvakäsikirjoitus Teksti
Buddha history
เสด็จประสูติ
ทรงออกผนวช ณ ริมฝั่งแม่น้ำอโนมา
เรื่องราวพุทธประวัติ
ทรงบำเพ็ญทุกขกริยา แต่ไม่สำเร็จ
เจ้าชายสิธัตถะประสูติเมื่อวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ( เดือนวิสาขะ ) ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี ณ ใต้ต้นสาละ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ กับกรุงเทวทหะ แคว้นโกลิยะ( ปัจจุบันคือตำบลรุมมินเด ประเทศเนปาล ) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา แห่งกรุงกบิลพัสดุ์
เสด็จตรัสรู้
พระองค์ได้ทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง ๔ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองค์จึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศบรรพิต มีพระทัยแน่วแน่ที่จทรงออกผนวช โดยพระองค์ทรงม้ากัณฐกะ พร้อมด้วยนายฉันนะ มุ่งสู่แม่น้ำอโนมานที แคว้นมัลละเสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำอโนมานทีแล้วทรงอธิษฐานเพศเป็นบรรพชิต และทรงมอบหมายให้นายฉันนะนำเครื่องอาภรณ์และม้ากัณฐกะกลับนครกบิลพัสดุ์
เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน
พระองค์ทรงบำเพ็ญทุกขกิริยา ได้แก่ การอดอาหาร กลั้นหายใจ กัดฟัน และอดอาหารแต่หลังจากทดลองได้ 6 ปี ทรงเห็นว่านี่ยังไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ จึงทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา และหันมาฉันอาหารตามเดิม ด้วยพระราชดำริตามที่พระอินทร์ได้เสด็จลงมาดีดพิณถวาย จึงทรงพิจารณาเห็นว่า ทางสายกลางคือไม่ตึงเกินไป และไม่หย่อนเกินไป นั่นคือทางที่จะนำสู่การพ้นทุกข์
เสด็จตรัสรู้ ณ ใต้ต้นศรีมหาโพธ์ ณ อุรุเวลาเสนานิคม เมืองพาราณสี ในวันขึ้น15ค่ำ เดือน6ในที่สุดทรงตรัสรู้ได้สำเร็จญาณ 3 ประการ คือ ญาณหยั่งรู้อดีต ญาณหยั่งรู้ความเกิดดับของสัตว์โลก ญาณหยั่งรู้ว่าหมดกิเลสได้สิ้นเชิงแล้ว เพราะได้ทรงเห็นแจ้งอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค
พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนาเป็นเวลานาน 45 พรรษา รวมพระชนมายุได้ 80 ปี จึงได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ณ ใต้ต้นสาละ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 วันนี้ผู้นับถือระพุทธศาสนา จึงกำหนดให้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและมีการประกอบพิธีบูชา ที่เรียกว่า วิสาขบูชา ซึ่งเป็นวันที่ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้
Yli 30 miljoonaa
kuvakäsikirjoitusta luotu