Resurssit
Hinnoittelu
Luo Kuvakäsikirjoitus
Omat Kuvataulut
Hae
Untitled Storyboard
Luo Kuvakäsikirjoitus
Kopioi tämä kuvakäsikirjoitus
TOISTA DIAESITYS
LUE MINULLE
Luo oma!
Kopio
Luo oma
kuvakäsikirjoitus
Kokeile
ilmaiseksi!
Luo oma
kuvakäsikirjoitus
Kokeile
ilmaiseksi!
Kuvakäsikirjoitus Teksti
Liuku: 1
สุดท้ายคือพันธะโลหะ=แรงยึดเหนี่ยวที่ทำให้อะตอมของโลหะ อยู่ด้วยกันในก้อนของโลหะโดยมีการใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมของโลหะ โดยที่เวเลนต์อิเล็กตรอนนี้ไม่ได้เป็นของอะตอมหนึ่งอะตอมใดโดยเฉพาะ
จึงทำให้โลหะไม่มีสูตรโมเลกุล ที่เขียนกันเป็นสูตรอย่างง่าย หรือสัญลักษณ์ของธาตุนั้นเอง
เป็นยังไงบ้างเข้าใจไหม?
โอ้ เข้าใจมากๆเลยล่ะเธออธิบายดีมาก
ฮ่าๆ ขอบคุณนะ
Liuku: 2
ส่วนการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกนั้นคือ1.อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามชื่ออโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย ไ-ด์ (-ide)
เข้าใจง่ายจริงๆ
2.กรณีธาตุโลหะมีเลขประจุหลายค่า ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยประจุวงเล็บเลขโรมันตามด้วยไอออนลบลงเสียงพยางค์ท้ายด้วยไ-ด์
3.กรณีธาตุโลหะรวมกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อกลุ่มไอออนลบ
Liuku: 3
สวัสดีจ้า มาทำอะไรหรอเทคโน
สวัสดีลีอา เรามาปริ้นเอกสารพันธะโควาเลนต์น่ะ
จริงหรอ เราก็มาปริ้นเอกสารพันธะไอออนิกกับพันธะโลหะเหมือนกัน
โอ๊ะ ดีเลยเราอยากถามเรื่องพันธะไอออนิกกับพันธะโลหะอยู่พอดี
Liuku: 4
2.ระบุจำนวนอะตอมของธาตุแต่ละตัวด้วยจำนวนในภาษากรีก3.ถ้าธาตุตัวหน้ามีอะตอมเดียวไม่ต้องระบุจำนวนอะตอม แต่ธาตุตัวหลังต้องระบุแม้มีเพียง 1 อะตอม
ข้อที่2นี่ใช่พวก1.mono 2.di 3.tri 4.tetra5.penta 6.hexa 7.hepta8.octa 9.nona 10deca ไหม?
ใช่แล้วล่ะและก็ขอบคุณมากนะที่อธิบายให้ฟัง
ไม่เป็นไรเลยเรายินดีมากๆ ขอบคุณนายเหมือนกันนะ
Liuku: 5
อ๋อ พันธะโควาเลนต์น่ะ เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันของธาตูอโลหะ เพื่อทำให้อะตอมแต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ8
แล้วพันธะโควาเลนต์ล่ะ?
ส่วนการอ่านชื่อสารประกอบโควาเลนต์ ได้แก่ 1.เรียกชื่อธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของอีกธาตุหนึ่ง พร้อมเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น-ไอด์
Liuku: 6
พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมหรือเรียกว่าพันธะเคมี มีประจุไอออน+- และเกิดจากการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนวงนอกสุดระหว่างอะตอม โดยส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมของโลหะ+อโลหะ ล่ะ
เช่น การเกิดของสารประกอบโซเดียมคอลไรด์(NaCl) หรือ Al2O3 , MgOเพื่อให้อิเล็กครอนวงนอกสุดครบ8ตัวตามกฎออกเตต
Liuku: 0
ได้เลย
แถมยังจำแนกออกเป็น3ลักษณะได้อีกนะ คือ 1.พันธะเดี่ยว 2.พันธะคู่ 3.พันธะสาม
Yli 30 miljoonaa
kuvakäsikirjoitusta luotu