Vahendid
Hinnapoliitika
Loo Süžeeskeem
Minu Süžeeskeemid
Otsing
บทที่สอง 2
Loo Süžeeskeemi
Kopeerige see süžeeskeemid
ESITA SLAIDIESITLUST
LOE MULLE
Looge oma
Koopia
Looge oma
süžeeskeemid
Proovige seda
tasuta!
Looge oma
süžeeskeemid
Proovige seda
tasuta!
Süžeeskeem Tekst
มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดีและบางชนิดไม่ละลายน้ำ มีสถานะเป็นของแข็งและเปราะ เมื่อเป็นของแข็งที่ประกอบด้วยไอออนบวกและลบจะไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อให้ความร้อน หรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้า
คุณสมบัติสารประกอบไอออนิก
NaCl เกลือแกง: ใช้ประกอบอาหารKNO3 ดินประสิว: ถนอมอาหาร ทำประทัด พลุไฟNaHCO3 ผงฟู: ใช้ประกอบอาหาร ใช้ดับไฟNa2SiO โซเดียมซิลิเกต: ใช้ทำแก้ว
สารประกอบไอออนิกที่ควรรู้จัก
ยิ่งมีจำนวนพันธะเยอะความแข็งแกร่งจะเพิ่มขึ้น
พันธะเดี่ยวใช้ร่วมกัน 1 คู่
เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมธาตุโลหะ เพื่อทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8
พันธะโคเวเลนต์
จำแนกได้อีก 3 ลักษณะ ตามจำนวนคู่อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน
พันธะคู่ใช้ร่วมกัน 2 คู่
อโลหะ + อโลหะ
พันธะสามใช้ร่วมกัน 3 คู่
3. นำอะตอมของแต่ละธาตุมาเข้าคู่กัน โดยให้แต่ละอะตอมที่ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 8
อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน= อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
สูตรโครงสร้างแบบจุด
1. ทราบเลขอะตอมของธาตุ เพื่อหาจำนวน เว-เลนซ์อิเล็กตรอน2. เขียนสัญลักษณ์แทนอิเล็กตรอน( . หรือ *) รอบ ๆ สัญลักษณ์ธาตุ
อิเล็กตรอนตัวอื่นที่ไม่ได้อยู่ในพันธะ = อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
สูตรโครงสร้างแบบเส้น
แทนจำนวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ ด้วยเส้น 1 เส้น1. เขียน ---- ระหว่างสัญลักษณ์ของอะตอมของธาตุคู่หนึ่ง ๆ 2. ไม่ต้องเขียนเวเลนซ์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
การเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์
B Si C Sb As P N H Te Se S At I Br Cl O F
1. เรียงลำดับสัญลักษณ์ธาตุ ตามนี้2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุในสารประกอบ เขียนไว้มุมล่างขวา3. ใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของแต่ละอะตอมของธาตุคูณไขว้และทำให้เป็นอัตราส่วนอย่างต่ำ
Loodud üle 30 miljoni süžeeskeemi