Suche
  • Suche
  • Meine Storyboards

Unknown Story

Erstellen Sie ein Storyboard
Kopieren Sie dieses Storyboard
Unknown Story
Storyboard That

Erstellen Sie Ihr eigenes Storyboard

Probieren Sie es kostenlos aus!

Erstellen Sie Ihr eigenes Storyboard

Probieren Sie es kostenlos aus!

Storyboard-Text

  • ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึ่งก่อตัวขึ้นมาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า "ผลิตภัณฑ์"สารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีคุณสมบัติทางเคมีที่ต่างจากสารตั้งต้นเพียงเล็กน้อย แต่ในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจจะแตกต่างจากสารตั้งต้นโดยสิ้นเชิง
  • กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสารใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีสารเริ่มต้นปฏิกิริยาเรียกว่า "ตัวทำปฏิกิริยา"ซึ่งจะมีเพียงตัวเดียวหรือมากกว่า 1 ตัวก็ได้ มาเกิดปฏิกิริยากัน
  • ปฏิกิริยาเคมี
  • ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานั้น ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขั้นตอนขั้นที่ 1 เป็นขั้นที่ดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้นขั้นที่ 2 เป็นขั้นที่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์
  • พลังงานเคมี
  • เป็นพลังงานที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร เช่น อยู่ในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง ไขมัน ซึ่งเมื่อเกิดการเผาไหม้จะปล่อยพลังงานเคมีออกมา และนำมาใช้ประโยชน์ได้พลังงานเคมีเป็นพลังงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและสำคัญกับสิ่งมีชีวิตมาก
  • 1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction)เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่คายออกมาเพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์จึงทำให้สิ่งแวดล้อมเย็นลง อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกเย็น
  • 2.ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction)เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่คายออกมา เพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเมื่อเอามือมาสัมผัสภาชนะจะรู้สึกร้อน
  • 1. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
  • 7. ปฏิกิริยาการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
  • 2. การสันดาปหรือการเผาไหม้เชื้อเพลิง
  • ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
  • 6. ปฏิกิริยาการหายใจแบบใช้ออกซิเจน
  • 4. ปฏิกิริยาการสะเทิน
  • 3. ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
  • 5. ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
  • การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย - อัตราที่เกิดคิดตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีได้ค่าเดียว2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลา - อัตราที่คิดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีได้หลายค่า แต่ละช่วงค่าที่ได้จะไม่เท่ากัน
  • อัตราการเกิดปฏิกิริยา = สารตั้งต้นที่ลดลง/เวลาที่ใช้ไป หรือ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น/เวลาที่ใช้ไป
  • 5. ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือตัวหน่วงปฏิกิริยา
  • 2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
  • 3. พื้นที่ผิวของสาร
  • 1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
  • ป้จจัยการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 4. อุณหภูมิ
Über 30 Millionen erstellte Storyboards